วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557



 ประวัติความเป็นมา กีฬาวู้ดบอล

         วู้ดบอล มาจากคำว่า WOOD ที่แปลว่า ไม้ และ BALL คือลูกบอลกลมๆ WOODBALL จึงแปลว่า ลูกบอลที่ทำด้วยไม้ ดังนั้นกีฬาวู้ดบอล จึงเป็นกีฬาที่ใช้ไม้ตีลูกบอลให้วิ่งในสนามไปสู่ประตูที่ทำด้วยไม้ โดยนับจำนวนครั้งในการตีลูกบอล โดยผู้ที่จะชนะการแข่งขันต้องตีให้จำนวนครั้งน้อยที่สุด

         กีฬาวู้ดบอล (WOODBALL) กำเนิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศไต้หวัน โดยมีชาวไต้หวันชื่อ Mr.Weng เป็นผู้คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น มีการเล่นกันอย่างแพร่หลายในประเทศแถวเอเชีย และเริ่มเข้ามาเผยแพร่ สู่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2541 โดย ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร นายกสมาคมวู้ดบอลแห่งประเทศไทย ดำรงตำแหน่งรองประธานสหพันธ์วู้ดบอลแห่งเอเชีย ได้นำนักกีฬาวู้ดบอลจากประเทศไทยไปเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาวู้ดบอลในประเทศต่างๆ แถบเอเชีย


         หลังจากนั้นประเทศไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันไทยแลนด์วู้ดบอลอินวิเตชั่น ที่สนามโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักกีฬาจากชาติต่างๆ เข้าร่วมการแข่งขัน อาทิเช่น ประเทศไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศฮ่องกง ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย เข้าร่วมการแข่งขันระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน 2541 ซึ่งทำให้ชาวต่างชาติประทับใจและรู้จักประเทศไทยอย่างยิ่ง

         ในขณะนี้กีฬาวู้ดบอลกำลังเป็นที่นิยมแพร่หลายและรู้จักอย่างกว้างขวางขึ้น เพราะเป็นกีฬาที่มีทักษะการเล่นง่ายเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย อีกทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิให้มั่นคงมีสายตาดีในการคาดคะเนการตีลูกให้แม่นยำ และยังนำมาซึ่งความแข็งแรงของร่างกายอีกด้วย

         ที่มา : กีฬาวู้ดบอล (นายจิราวัฒน์ ขจรศิลป์ 2549)




วู้ดบอล มาจากคำว่า WOOD ที่แปลว่า ไม้ และ BALL คือลูกบอลกลมๆ WOODBALL จึงแปลว่า ลูกบอลที่ทำด้วยไม้ ดังนั้นกีฬาวู้ดบอล จึงเป็นกีฬาที่ใช้ไม้ตีลูกบอลให้วิ่งในสนามไปสู่ประตูที่ทำด้วยไม้ โดยนับจำนวนครั้งในการตีลูกบอล โดยผู้ที่จะชนะการแข่งขันต้องตีให้จำนวนครั้งน้อยที่สุด
กีฬาวู้ดบอล (WOODBALL) กำเนิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศไต้หวัน โดยมีชาวไต้หวันชื่อ Mr.Weng เป็นผู้คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น มีการเล่นกันอย่างแพร่หลายในประเทศแถวเอเชีย และเริ่มเข้ามาเผยแพร่ สู่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2541 โดย ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร นายกสมาคมวู้ดบอลแห่งประเทศไทย ดำรงตำแหน่งรองประธานสหพันธ์วู้ดบอลแห่งเอเชีย ได้นำนักกีฬาวู้ดบอลจากประเทศไทยไปเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาวู้ดบอลในประเทศต่างๆ แถบเอเชีย
หลังจากนั้นประเทศไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันไทยแลนด์วู้ดบอลอินวิเตชั่น ที่สนามโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักกีฬาจากชาติต่างๆ เข้าร่วมการแข่งขัน อาทิเช่น ประเทศไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศฮ่องกง ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย เข้าร่วมการแข่งขันระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน 2541 ซึ่งทำให้ชาวต่างชาติประทับใจและรู้จักประเทศไทยอย่างยิ่ง
ในขณะนี้กีฬาวู้ดบอลกำลังเป็นที่นิยมแพร่หลายและรู้จักอย่างกว้างขวางขึ้น เพราะเป็นกีฬาที่มีทักษะการเล่นง่ายเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย อีกทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิให้มั่นคงมีสายตาดีในการคาดคะเนการตีลูกให้แม่นยำ และยังนำมาซึ่งความแข็งแรงของร่างกายอีกด้วย
เริ่มต้นกับวู้ดบอล
  1. วู้ดบอลเป็นกีฬาที่สามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย
  2. วู้ดบอลเป็นกีฬาที่สนุกสนานและมีการใช้ทักษะหลายอย่างในการเล่น
  3. กีฬาวู้ดบอลเป็นกีฬาที่มีวิธีการเล่นคล้ายกับกีฬากอล์ฟ
  4. กีฬาวู้ดบอลใช้อุปกรณ์การเล่นเพียง ไม้ตี ลูกวู้ดบอล และประตูเท่านั้น และสามารถเล่นได้บนพื้นหญ้าแบบใดก็ได้
  5. วู้ดบอลเป็นกีฬานันทนาการและสร้างความสัมพันธ์ในสังคมได้ดี
อุปกรณ์
  • ไม้วู้ดบอล
  • ลูกวู้ดบอล
  • ประตูวู้ดบอล
กฎและกติกาการเล่น
  1. การตี ให้ผู้เล่นตีลูกวู้ดบอลด้วยไม้ตีในมุมที่ถูกต้อง
  2. การนับคะแนน เมื่อผู้เล่นตีลูกวู้ดบอลด้วยไม้ผ่านเข้าประตูทั้งลูก โดยผ่านเข้าประตูด้านใดก็ได้ จะถือว่าเป็นการสิ้นสุดการเล่นในเกมนั้น
  3. การตีลูกวู้ดบอลออกนอกเขต เมื่อผู้เล่นตีลูกวู้ดบอลออกนอกเขตสนาม ให้ผู้เล่นนำลูกวู้ดบอลกลับมาวางไว้ในระยะห่างเท่ากับ 2 หัวไม้จากจุดที่ถูกตีออกไป เพื่อเริ่มเล่นใหม่อีกครั้ง
  4. การคิดคะแนนรวม ผู้ชนะการแข่งขัน คือ ผู้เล่นที่มีคะแนนสะสมในการตีน้อยครั้งที่สุด แต่ถ้าผู้เล่นมีคะแนนสะสมในการตีเท่ากันให้ตัดสินโดยนับคะแนนผู้ที่น้อยกว่าจากประตูก่อนจบการแข่งขัน
การออกแบบสนามวู้ดบอล สนามที่ใช้ในการเล่นกีฬาวู้ดบอลสามารถใช้สนามหญ้าแบบใดก็ได้ โดยให้มีความกว้างประมาณ 2 - 10 เมตร และความยาวประมาณ 20 - 80 เมตร และให้ตั้งประตูไว้อีกด้านหนึ่งของสนาม โดยกำหนดให้เส้นเริ่มต้นอยู่ในฝั่งตรงกันข้ามกับประตู แต่ละสนามให้กำหนดขอบเขตที่ชัดเจน การแข่งขันกีฬาวู้ดบอลโดยทั่วไปจะกำหนดให้มี 12 ประตู ซึ่งความยาวของสนามรวมแล้วไม่น้อยกว่า 500 เมตรกติกาการแข่งขัน WOOD BALL
การจัดทีมการแข่งขัน
ใน 1 ทีม ประกอบด้วย
  • ผู้จัดการทีม
  • ผู้ฝีกสอน
  • ผู้ควบคุมทีม
  • หัวหน้าทีม
  • นักกีฬา
ใน 1 ทีม ประกอบด้วย
  • นักกีฬา 4-8 คน (รวมหัวหน้าทีม) และนักกีฬาลงแข่งขัน 4-6 คน คิดคะแนนจากผู้เล่นที่ทำคะแนนได้ดีที่สุด 4 คน
  • นักกีฬาที่ไม่ได้ลงชื่อในทีมแข่งขันไม่มีสิทธิ์ลงทำการแข่งขัน
ประเภทการแข่งขัน
  1. ประเภททีม คิดคะแนนจากผู้เล่น 4 คน ที่ทำคะแนนได้ดีที่สุด
  2. ประเภทบุคคล คิดคะแนนแต่ละบุคคล
  3. ประเภทคู่ผสม ผู้เล่นชาย 1 คน หญิง 1 คน ตีลูกคนละ 1 ครั้ง สลับกันไป
ลำดับการเล่น (ในแต่ละชุดที่ลงทำการแข่งขัน)
  1. เรียงลำดับคนแรกเริ่มตีก่อน ในสนามแรกตามใบบันทึกคะแนน และเรียงลำดับจนครบทุกสนาม
  2. สนามที่ 2 เริ่มตีจากลำดับที่ 2 ตีเป็นคนแรกและเรียงตามลำดับ
  3. สนามต่อไป เช่นเดียวกันกับข้อ 3.2
หน้าที่กรรมการผู้ตัดสิน
  1. เช็ครายชื่อผู้เล่นและอุปกรณ์การแข่งขัน
  2. นำผู้เล่นไปยังสนามและขานชื่อผู้เล่นทุกครั้ง
  3. ประกาศและสรุปคะแนนของผู้เล่นแต่ละสนาม
  4. บันทึกผลการแข่งขันลงในใบบันทึกคะแนน
  5. ตรวจเช็คผลการแข่งขันพร้อมทั้งให้ผู้เล่นเซ็นชื่อหลังการแข่งขันสิ้นสุดลงในแต่ละสนาม เพื่อยืนยันผลการแข่งขัน
  6. กรรมการผู้ตัดสินอยู่ด้านหน้าข้างสนามที่ไม่กีดขวางการเล่น
  7. กรรมการผู้ตัดสินควรยืนอยู่ในตำแหน่งที่สามารถเห็นลักษณะการตีของผู้เล่นแต่ละคนและทิศทางที่ลูกบอลถูกตีไปได้อย่างชัดเจน
ผู้ที่สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจาก สมาคมวู้ดบอลแห่งประเทศไทย 234/25 หมู่ 3 ถนนสรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 66 8 9996 3790, 66 8 1848 4230 โทรสาร 66 2 566.4538 E-mail : info@woodballthailand.com

ประวัติความเป็นมา กีฬาวู้ดบอล
         วู้ดบอล มาจากคำว่า WOOD ที่แปลว่า ไม้ และ BALL คือลูกบอลกลมๆ WOODBALL จึงแปลว่า ลูกบอลที่ทำด้วยไม้ ดังนั้นกีฬาวู้ดบอล จึงเป็นกีฬาที่ใช้ไม้ตีลูกบอลให้วิ่งในสนามไปสู่ประตูที่ทำด้วยไม้ โดยนับจำนวนครั้งในการตีลูกบอล โดยผู้ที่จะชนะการแข่งขันต้องตีให้จำนวนครั้งน้อยที่สุด

         กีฬาวู้ดบอล (WOODBALL) กำเนิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศไต้หวัน โดยมีชาวไต้หวันชื่อ Mr.Weng เป็นผู้คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น มีการเล่นกันอย่างแพร่หลายในประเทศแถวเอเชีย และเริ่มเข้ามาเผยแพร่ สู่ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2541 โดย ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร นายกสมาคมวู้ดบอลแห่งประเทศไทย ดำรงตำแหน่งรองประธานสหพันธ์วู้ดบอลแห่งเอเชีย ได้นำนักกีฬาวู้ดบอลจากประเทศไทยไปเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาวูดบอลในประเทศต่างๆ แถบเอเชีย 

         หลังจากนั้นประเทศไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันไทยแลนด์วู้ดบอลอินวิเตชั่น ที่สนามโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักกีฬาจากชาติต่างๆ เข้าร่วมการแข่งขัน อาทิเช่น ประเทศไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศฮ่องกง ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย เข้าร่วมการแข่งขันระหว่างวันที่ 24-29 พฤศจิกายน 2541 ซึ่งทำให้ชาวต่างชาติประทับใจและรู้จักประเทศไทยอย่างยิ่ง

         ในขณะนี้กีฬาวู้ดบอลกำลังเป็นที่นิยมแพร่หลายและรู้จักอย่างกว้างขวางขึ้น เพราะเป็นกีฬาที่มีทักษะการเล่นง่ายเหมาะสมกับทุกเพศทุกวัย อีกทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิให้มั่นคงมีสายตาดีในการคาดคะเนการตีลูกให้แม่นยำ และยังนำมาซึ่งความแข็งแรงของร่างกายอีกด้วย

         ที่มา : กีฬาวู้ดบอล (นายจิราวัฒน์ ขจรศิลป์ 2549) 

 วู๊ดบอลมาจากคำว่า WOOD ที่แปลว่า ไม้ และ BALL คือลูกบอลกลมๆ WOOD BALL จึงแปลว่า ลูกบอลที่ทำด้วยไม้ (WOOD BALL)  จึงเป็นกีฬาที่ใช้ไม้ลูกบอลให้วิ่งในสนามไปสู่ประตู ที่ทำด้วยไม้  โดยนับจำนวนครั้งในการตีลุกบอล โดยผู้ที่จะชนะการแข่งขันต้องตีให้จำนวนครั้งน้อยที่สุด
       กีฬาวู๊ดบอลกำเนิดครั้งแรกที่ปรเทศใต้หวัน โดยมีชาวใต้หวันชื่อ Mr.wang เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้น มีการเล่นกันแพร่หลายในแถบเอเชีย
      


          กีฬาวู๊ดบอล (WOOD BALL) เริ่มเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดย ดร.พัฒนาชาติ กฤดิบวร นายกสมาคมวู๊ดบอลแห่งประเทศไทย  ดำรงตำแหน่งรองประธานสหพันธ์วู๊ดบอลแห่งเอเอเชีย  ได้นำนักกีฬาวู๊ดบอลจากประเทศไทยไปเข้าร่วมการแข่งขันวู๊ดบอลในประเทศต่างๆ แถบเอเชีย 
       จากนั้นประเทศไทได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันไทยแลนด์วู๊ดบอลอินวิเตรชั่น  ที่สนามโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี มีนักกีฬาจากชาติต่างๆ เข้าร่วมการแข่งขัน  อาทิเช่น ประเทศใต้หวัน ประเทศสาธารณะรัฐประชาชนจีน ประเทศฮ่องกง ประเทศสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย เข้าร่วมการแข่งขัน วันที่ 24-29 พฤษจิกายน 2541 ทำให้ชาวต่างชาติรู้จักวู๊ดบอลมากยิ่งขึ้น
 ขณะนี้กีฬาวู๊ดบอลกำลังเป็นที่นิยมแพร่หลาย และเป้นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นอย่างกว้างขวาง  เพราะเป็นกีฬาที่มีทักษะการเล่นง่ายเหมาะสมกับทุกวัย ทุกเพศ  อีกทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิให้มั่นคงมีสายตาดีในการคาดคะเนการตีลูกให้แม่นยำ และยังนำมาซึ่งความแข็งแรงของร่างกายอีกด้วย